รู้จักกับวิทยุออนไลน์

การสื่อสารกับผู้คนที่อยู่ห่างกันออกไปด้วยระยะทางที่มากกว่า 1-100 กิโลเมตรนั้น เมื่อก่อนเราก็ต้องพึ่งพา คลื่นวิทยุที่ทำการกระจายเสียงจากเสาอากาศที่สูงหรือบางทีเสาก็อยู่ตามตึกสูงๆเพื่อที่จะได้ทำการส่งสัญญาณคลื่นวิทยุให้ได้ไกลมากที่เท่าที่จะทำได้ ซึ้งบางครั้งการรับฟังข่าวสารก็อาจจะมีการรบกวนคลื่นสัญญาณบ้างในบางพื้นที่และนี่ก็เป็นอุปสักในการสื่อสารตอนนี้ทั่วโลกต่างก็ได้มีการพัฒนา ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ทีความเร็วสูงซึ้งประเทศไทยกำลังเปลี่ยนผ่านจากการรับชมทีวีระบบอนาล็อกมาเป็นดิจิตอล อย่างเป็นทางการแล้ว ทำให้เราสามารถรับชมทีวีดิจิตอลได้แล้ว 
และมีการนำเอา วิทยุดิจิตอล ออนไลน์ ซึ่งจะทำให้การรับฟังแบบเดิมๆด้วยระบบอนาล็อกมาเป็นแบบดิจิทัลออนไลน์ ซึ้งจะทำให้ ปัญหาที่ผู้ฟังสามารถรับฟังได้อย่างชัดเจน ไม่มีคลื่นแทรก และไม่สามารถรับฟังข้ามจังหวัดได้นั้นสิ่งเหล่านี้ก็จะหมดไป ทำให้การรับฟังวิทยุดิจิทัลออนไลน์ได้อย่างไม่มีข้อจำกัดอีกต่อไป ด้วยประสิทธิภาพพร้อมความสามารถที่มากขึ้น ก็เพียงแค่เราติดตั้งแอปวิทยุ ไว้บนมือถือเพียงนี้เราก็สามารถรับฟังเพลง ข่าวสาร หรือติดตาม กีฬาต่างๆได้จากทั่วโลกกันเลยทีเดียว และคนทีเป็นคอกีฬาด้วยแล้วก็สามารถติดตามข่าวสารดีได้จาก เว็บกีฬาออนไลน์ ที่มีข้อมูลมากมายซึ้งมีประเภทของกีฬาต่างๆไว้ให้เราได้ค้นหา และประเทศไทยได้มีการเริ่มรับส่งสัญญาณวิทยุในระบบดิจิตอล กันมากขึ้น

ประเทศไทยกำลังจะมีวิทยุดิจิตอล

ปัจจุบันการรับฟังวิทยุที่ยังมีการส่งสัญญาณด้วยระบบอนาล็อก ซึ่งใช้คลื่นความถี่ในย่าน FM และ AM โดยปัญหาที่เกิดขึ้นจากการรับฟัง วิทยุกระจายเสียงในระบบอนาล็อกคือ ไม่สามารถรับฟังได้ชัดเจน และมีการรบกวนสัญญาณจากวิทยุชุมชนที่มีการใช้งานคลื่นความถี่ใน
ย่าน FM จำนวนมาก ดังนั้นการกระจายเสียงในระบบดิจิตอลจึงเป็นการแก้ไขปัญหาการรับฟังวิทยุได้อย่างมีประสิทธิภาพมากกว่าการใช้งานคลื่นความถี่วิทยุ  ด้วยเทคโนโลยีระบบดิจิทัลออนไลน์ก็ได้ส่งผลให้การรับฟังวิทยุสามารถครอบคลุมพื้นที่ได้มากขึ้นด้วยจำนวนครัวเรือนที่รับฟังวิทยุได้มากขึ้น และยังได้เปิดให้บริการข้อมูล (Data Broadcasting) ไปพร้อมกับสัญญาณเสียง คือ สามารถฟังวิทยุไปพร้อมๆดูข้อความหรือดูภาพ (ภาพนิ่ง หรือ Slide) บนหน้าจอวิทยุดิจิตอลได้ ทำให้ผู้บริโภคสามารถได้รับข่าวสารข้อมูลเนื้อหาของรายการต่างๆได้อีกด้วย

ระยะการพัฒนา ของสำนักงานกสทช.

ซึ้งได้มีแผนการในการอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่ สำหรับการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียงในระบบดิจิตอลภายใน 3 ปี และมีการเริ่มรับส่งสัญญาณวิทยุกระจายเสียงในระบบดิจิตอลภายใน 4 ปี ในการรับส่งสัญญาณวิทยุกระจายเสียงระบบดิจิตอล ซึ่งคาดว่าจะมีจำนวนที่สามารถรับสัญญาณวิทยุกระจายเสียงในระบบดิจิตอลได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ  80 ภายใน 5 ปี

การส่งสัญญาณวิทยุดิจิทัล 

ในการรับส่งสัญญาณ โดยวิทยุอนาล็อกกับวิทยุดิจิตอลนั้น จะมีความแตกต่างกันอย่างชัดเจน ด้วยคุณภาพของเสียงที่ฟังนั้นจะมีความชัดเจน ไม่มีคลื่นแทรก ด้วยการรับส่งสัญญาณวิทยุจะดำเนินการ ที่จะใช้คลื่น VHF หากฟังเพลงก็จะเหมือนกับการรับฟังผ่านทาง CD และ ไม่มีการจำกัดพื้นที่ในการรับฟังอีกต่อไป เพราะจะสามารถรับฟังได้ครอบคลุมในระดับภูมิภาคและระดับประเทศได้นอกจากนี้ ในการ ส่งได้ทั้งเสียง ข้อความและภาพไปพร้อมๆกัน หากฟังเพลงก็อาจจะมีชื่อเพลงที่ฟังอยู่แสดงขึ้นมาให้เห็น พร้อมภาพศิลปินที่ร้องเพลงด้วย หรืออาจมีข้อความบอกรายการต่อไป เพลงต่อไปแสดงขึ้นมา หรือหากเป็นรายการวิทยุด้านเพื่อการศึกษาก็จะทำให้ผู้จัดรายการสามารถเปิดภาพ Slide ไปพร้อมๆกับการส่งเสียง และในขณะให้ผู้ฟังก็สามารถเห็น DJ ซึ้งอาจถ่ายรูปให้ดูพร้อมๆกับการจัดรายการไปด้วย แต่การรับฟังวิทยุดิจิทัล ก็ต้องมีระบบที่มีการรองรับในการรับฟังด้วยเช่นกันและ ในปัจจุบันนี้  ผู้ผลิตรถยนต์หลายรุ่น โดยเฉพาะรถยนต์ที่ผลิตสำหรับประเทศที่มีการออกอากาศวิทยุดิจิทัลอย่าง เช่นในยุโรป ก็มาพร้อมกับวิทยุดิจิตอลแล้วซึ้งก็มีกว่า 40 ประเทศทั่วโลกแล้ว ที่รับส่งสัญญาณวิทยุกระจายเสียงในระบบดิจิตอล เช่น ฝรั่งเศส ออสเตรเลีย นอร์เวย์ อิตาลี เยอรมัน  เป็นต้น ส่วนในเอเชียก็มี ฮ่องกง มาเลเซีย เกาหลีใต้  และอินโดนีเซียที่ดำเนินการกระจายเสียงในระบบดิจิตอล กันแล้ว

สรุป การส่งสัญญาณกระจายเสียงในระบบดิจิทัลของสถานีวิทยุกระจายเสียงในประเทศไทย ก็ได้มีไว้เพื่อการศึกษา ส่งข่าวสาร และเกี่ยวกับกีฬาประเภทต่างๆ ซึ้งเป็นความสำเร็จในการเปลี่ยนผ่านสู่การส่งกระจายเสียงระบบดิจิทัลในต่างประเทศ และการดำเนินการของสถานีวิทยุระบบดิจิทัล
ก็ได้มีหลายประเภท เช่น วิทยุประเภทธุรกิจ วิทยุชุมชน วิทยุเพื่อความมั่นคง กลุ่มนักวิชาชีพด้านวิทยุกระจายเสียง บุคลากรส่วนงานสถานีวิทยุกระจายเสียง กรมประชาสัมพันธ์ กระทรวงศึกษาธิการ และประชาชน เพื่อให้ได้ผลการวิจัยหลากหมายมิติ ของสถาบันการศึกษาในระบบดิจิทัล เป็นโครงข่ายที่ได้มีการพัฒนาด้านโทรคมนาคม รวมถึงการบูรณาการสื่อวิทยุกระจายเสียงกับสื่อใหม่ๆอีกด้วย